ขั้นตอนที่ 1 ให้ความร้อนกับอากาศภายในกระบอก จึงทำให้มีความดันก๊าซเพิ่มขึ้นดันให้ลูกสูบไล่เคลื่อนที่มาทางด้านขวา ในขณะที่ลูกสูบกำลังยังคงหยุดนิ่ง
ขั้นตอนที่ 2 เมื่อลูกสูบทางด้านร้อนมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น จึงทำให้เกิดแรงดันลูกสูบกำลังเคลื่อนตัวไปทางขวา และเมื่อรับความร้อนจนกระทั่งอุณหภูมิคงตัว ความดันก็จะลดลง
ขั้นตอนที่ 3 เมื่อลูกสูบกำลังเลื่อนมาทางขวาทำให้ล้อตุนกำลังจะหมุนไปพร้อมกับดันลูกสูบไล่เคลื่อนที่ไปทางซ้าย เพื่อไล่ความร้อนออกมาทางด้านเย็นและระบายออกสู่ภายนอกเครื่องยนต์สเตอร์ลิง
ขั้นตอนที่ 4 เมื่อลูกสูบกำลังเคลื่อนกลับมาทางขวา ล้อตุนกำลังก็หมุนไปพร้อมกับดึงลูกสูบไล่กลับมาทางซ้าย ซึ่งทั้งหมดได้กลับมาอยู่ตำแหน่งเดียวกับขั้นตอนที่ 1 และวนเช่นนี้ไปเป็นวัฏจักร
ภาพแสดงการทำงานของเครื่องยนต์สเตอร์ลิง
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87
และ https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87&biw=1366&bih=667&tbm=isch&imgil=zq3mKG8eb-YpfM%253A%253BVvkLt7mzZZ2AYM%253Bhttp%25253A%25252F%25252Fmen.postjung.com%25252F679210.html&source=iu&pf=m&fir=zq3mKG8eb-YpfM%253A%252CVvkLt7mzZZ2AYM%252C_&usg=__QbXeQicdUWH_HpTRf2mgBfK8A3w%3D&ved=0ahUKEwij3uyxpPrOAhVEu48KHTFHAUAQyjcIJQ&ei=B3nOV-M-xPa-BLGOhYAE#imgrc=zq3mKG8eb-YpfM%3A
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น